เทพบุตรมาร (๒)
รูปที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจักษุ เสียงที่จะพึงรู้แจ้งด้วยหู กลิ่นที่จะพึงรู้แจ้งด้วยจมูก รสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยลิ้น สัมผัสที่จะพึงรู้แจ้งด้วยกาย ธรรมารมณ์ที่จะพึงรู้แจ้งด้วยใจ อันน่ารักน่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ อาศัยความใคร่ ชวนให้กำหนัดมีอยู่ หากภิกษุไม่เพลิดเพลิน ไม่สรรเสริญ ไม่หมกมุ่น ไม่พัวพันอยู่ในรูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสและธรรมารมณ์ ภิกษุนี้เรากล่าวว่า ไม่ไปสู่ที่อยู่ของมาร ไม่ตกอยู่ในอำนาจของมาร ไม่ถูกมารครอบงำ เป็นผู้พ้นจากบ่วงมาร ภิกษุนั้น มารผู้มีบาปพึงใช้บ่วง ทำตามความปรารถนาไม่ได้
ธรรมะเพื่อประชาชนอรหัตตภูมิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมณะที่ ๔ เป็นไฉน ภิกษุในศาสนานี้ กระทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติอันหาอาสวะมิได้ เพราะความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ด้วยอภิญญาของตนเอง เข้าถึงทิฏฐธรรมอยู่ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลเช่นนี้คือสมณะที่ ๔ ในพระพุทธศาสนา
ธรรมะเพื่อประชาชนกาฬเทวิลดาบส
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตตาวาสภูมิ และภวัคคพรหมมีประมาณเพียงไร พระอรหันต์ทั้งหลายเป็นผู้เลิศ เป็นผู้ประเสริฐสุดในโลก ยิ่งกว่าสัตตาวาสและภวัคคพรหมเหล่านั้น
ธรรมะเพื่อประชาชนธุดงค์ คือ อะไร
ธุดงค์ คืออะไร หลังออกพรรษาก็ถึงคราที่พระภิกษุสงฆ์จะเที่ยวจาริกไปในที่ต่างๆ เพื่อหาสถานที่อันสัปปายะ เพื่อเจริญสมณธรรม รวมทั้งเผยแผ่ธรรม ซึ่งเรามักจะได้ยินว่าออก ‘ธุดงค์’
มหาปูชนียาจารย์มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ตอนที่ ๓
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเน้นให้พระภิกษุสงฆ์มุ่งแสวงหาความสงบวิเวก แสวงหาความบริสุทธิ์ เพื่อที่จะทำพระนิพพานให้แจ้ง เมื่อแจ้งแล้ว จะได้เป็นแสงสว่างต่อไป ไม่ทรงให้หลงใหลในลาภสักการะ ซึ่งเป็นเพียงเปลือกนอก ไม่ใช่สาระแก่นสารที่แท้จริง แก่นสารที่แท้จริง คือ ต้องทำพระนิพพานให้แจ้ง ต้องให้รู้แจ้งเห็นจริงในชีวิต
ธรรมะเพื่อประชาชน